Fully Precast
ระบบ การก่อสร้างบ้านสำเร็จรูป (Precast Concrete System) ที่ถูกคิดค้นและพัฒนาจากเทคโนโลยีการก่อสร้างชั้นสูง จากประเทศญี่ปุ่น โดยบริษัทบ้านไทยโฮมโกลด์ ได้นำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการใช้งานในประเทศไทย โดยเป็นระบบโครงสร้างที่นำวัสดุสำเร็จรูปที่หล่อจากโรงงานนำมาประกอบในที่ดินของลูกค้า ได้แก่ ผนังและพื้น เพื่อย่นระยะเวลาในการก่อสร้างลงอีกทั้งยังได้คุณภาพและมาตรฐานที่เหนือกว่าระบบการก่อสร้างแบบเดิมๆ ที่เคยมีมาประกอบด้วยจุดเด่นที่สำคัญดังนี้
1. ใช้มาตรฐานการผลิตจากคอนกรีตกำลังสูงซึ่งเป็นคอนกรีตอัดแรงชนิดเดียวกับงานก่อสร้างขนาดใหญ่ ได้แก่ งานก่อสร้างทางด่วน,สะพานและอาคารสูงเป็นต้น ประกอบกับการพัฒนาระบบการยึดต่อชิ้นส่วนโครงสร้างด้วยเหล็กรูปพรรณ (Prefabriction & Multi Joint Lock System)
ซึ่งมีการเชื่อมไฟฟ้าบริเวณรอยต่อซึ่งมีความแข็งแรงเหมาะสมในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยอีกทั้ง ยังมีความรวดเร็วในการประกอบชิ้นส่วนหลายเท่าตัว เมื่อเทียบกับโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่
ซึ่งมีการเชื่อมไฟฟ้าบริเวณรอยต่อซึ่งมีความแข็งแรงเหมาะสมในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยอีกทั้ง ยังมีความรวดเร็วในการประกอบชิ้นส่วนหลายเท่าตัว เมื่อเทียบกับโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่
1. ใช้มาตรฐานการผลิตจากคอนกรีตกำลังสูงซึ่งเป็นคอนกรีตอัดแรงชนิดเดียวกับงานก่อสร้างขนาดใหญ่ ได้แก่ งานก่อสร้างทางด่วน,สะพานและอาคารสูงเป็นต้น ประกอบกับการพัฒนาระบบการยึดต่อชิ้นส่วนโครงสร้างด้วยเหล็กรูปพรรณ (Prefabriction & Multi Joint Lock System)
ซึ่งมีการเชื่อมไฟฟ้าบริเวณรอยต่อซึ่งมีความแข็งแรงเหมาะสมในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยอีกทั้ง ยังมีความรวดเร็วในการประกอบชิ้นส่วนหลายเท่าตัว เมื่อเทียบกับโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่
ซึ่งมีการเชื่อมไฟฟ้าบริเวณรอยต่อซึ่งมีความแข็งแรงเหมาะสมในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยอีกทั้ง ยังมีความรวดเร็วในการประกอบชิ้นส่วนหลายเท่าตัว เมื่อเทียบกับโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่
2. ใช้วิธีการหล่อคานและพื้นชั้นล่างที่หน้างาน ควบคุมโดยวิศวกรพร้อมทีมงานก่อสร้าง วิธีการการหล่อดังกล่างจะทำให้ชิ้นส่วนโครงสร้างมีความสมบูรณ์มากกว่า จากการกระจายตัวของมวลรวม (หิน,ทราย,ปูน)
ภายในคอนกรีตที่สม่ำเสมอตลอดชิ้นส่วน แตกต่างจากการก่อสร้างบ้านทั่วไปที่ใช้การหล่อเสา - คาน ในแนวตั้ง ซึ่งพบปัญหาการกระจายตัว ที่ไม่สม่ำเสมอของมวลรวมเนื่องจากหินและทรายจะแยกชั้นกัน
ภายในคอนกรีตที่สม่ำเสมอตลอดชิ้นส่วน แตกต่างจากการก่อสร้างบ้านทั่วไปที่ใช้การหล่อเสา - คาน ในแนวตั้ง ซึ่งพบปัญหาการกระจายตัว ที่ไม่สม่ำเสมอของมวลรวมเนื่องจากหินและทรายจะแยกชั้นกัน
2. ใช้วิธีการหล่อคานและพื้นชั้นล่างที่หน้างาน ควบคุมโดยวิศวกรพร้อมทีมงานก่อสร้าง วิธีการการหล่อดังกล่างจะทำให้ชิ้นส่วนโครงสร้างมีความสมบูรณ์มากกว่า จากการกระจายตัวของมวลรวม (หิน,ทราย,ปูน)
ภายในคอนกรีตที่สม่ำเสมอตลอดชิ้นส่วน แตกต่างจากการก่อสร้างบ้านทั่วไปที่ใช้การหล่อเสา - คาน ในแนวตั้ง ซึ่งพบปัญหาการกระจายตัว ที่ไม่สม่ำเสมอของมวลรวมเนื่องจากหินและทรายจะแยกชั้นกัน
ภายในคอนกรีตที่สม่ำเสมอตลอดชิ้นส่วน แตกต่างจากการก่อสร้างบ้านทั่วไปที่ใช้การหล่อเสา - คาน ในแนวตั้ง ซึ่งพบปัญหาการกระจายตัว ที่ไม่สม่ำเสมอของมวลรวมเนื่องจากหินและทรายจะแยกชั้นกัน
3. ใช้เหล็กรูปพรรณ ในการยึดต่อโครงสร้าง (Prefabrication & Multi Joint Lock System) ที่มีความยืดหยุ่น พร้อมรับแรงสั่นสะเทือนได้สูง ตลอดจนมีการตราวจสอบความสามารถรับแรงเฉือนได้ง่าย เพราะมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แตกต่างกับจุดต่อโครงสร้างคอนกรีตที่ดูแข็งแรง แต่ไม่ยืดหยุ่น และตรวจสอบเหล็กเสริมภายในไม่ได้
3. ใช้เหล็กรูปพรรณ ในการยึดต่อโครงสร้าง (Prefabrication & Multi Joint Lock System) ที่มีความยืดหยุ่น พร้อมรับแรงสั่นสะเทือนได้สูง ตลอดจนมีการตราวจสอบความสามารถรับแรงเฉือนได้ง่าย เพราะมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แตกต่างกับจุดต่อโครงสร้างคอนกรีตที่ดูแข็งแรง แต่ไม่ยืดหยุ่น และตรวจสอบเหล็กเสริมภายในไม่ได้
4. การเก็บงานและรอยต่อระหว่างแผ่นพรีแคส โดยทั่วไปจะให้ความสำคัญอยู่ 3 เรื่อง คือ เรื่องของความแข็งแรง เรื่องความเรียบร้อยสวยงาม และเรื่องของการบำรุงรักษา ลักษณะรอยต่อของแผ่น Precast ส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณรอยต่อผนังกับผนังในแนวดิ่ง ผนังชิ้นบนกับผนังชิ้นล่างในแนวนอน และผนังกับพื้น ซึ่งรอยต่อดังกล่าวมักถูกออกแบบให้ป้องกันการรั่วซึมของน้ำ และอากาศ
โดยอาศัยการออกแบบให้รอยต่อของชิ้นงานวางขบกันในลักษณะบังใบ แล้วยาแนวด้วยกาว PU (กาวโพลียูรีเทน) หรืออีกประเภทหนึ่ง คือ เว้นรอยต่อไว้เป็นโพรง แล้วเสริมเหล็กเส้น กรอกปูน Non-Shrink (ปูนที่มีคุณสมบัติยึดเกาะดี ไม่หดตัว) แล้วจึงยาแนวด้วยกาว PU สามารถใช้วัสดุตกแต่งมาปิดทับรอยต่อ
เพื่อปกป้องให้รอยต่อนั้นมีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้น เช่น บัวประดับ เป็นต้น หรือติดวัสดุที่ช่วยเบรครอยต่อเพื่อป้องกันการแตกร้าวหรือเสื่อมสภาพในภายหลังด้วยคิ้ว บัว โลหะ หรือ PVC ที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ทั้งภายในและภายนอก หากต้องทำการซ่อมแซมรอยต่อ ก็สามารถทำได้โดยการลอกวัสดุที่ใช้ยาแนวเดิมออก แล้วทำการยาแนวใหม่
4. การเก็บงานและรอยต่อระหว่างแผ่นพรีแคส โดยทั่วไปจะให้ความสำคัญอยู่ 3 เรื่อง คือ เรื่องของความแข็งแรง เรื่องความเรียบร้อยสวยงาม และเรื่องของการบำรุงรักษา ลักษณะรอยต่อของแผ่น Precast ส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณรอยต่อผนังกับผนังในแนวดิ่ง ผนังชิ้นบนกับผนังชิ้นล่างในแนวนอน และผนังกับพื้น ซึ่งรอยต่อดังกล่าวมักถูกออกแบบให้ป้องกันการรั่วซึมของน้ำ และอากาศ
โดยอาศัยการออกแบบให้รอยต่อของชิ้นงานวางขบกันในลักษณะบังใบ แล้วยาแนวด้วยกาว PU (กาวโพลียูรีเทน) หรืออีกประเภทหนึ่ง คือ เว้นรอยต่อไว้เป็นโพรง แล้วเสริมเหล็กเส้น กรอกปูน Non-Shrink (ปูนที่มีคุณสมบัติยึดเกาะดี ไม่หดตัว) แล้วจึงยาแนวด้วยกาว PU สามารถใช้วัสดุตกแต่งมาปิดทับรอยต่อ
เพื่อปกป้องให้รอยต่อนั้นมีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้น เช่น บัวประดับ เป็นต้น หรือติดวัสดุที่ช่วยเบรครอยต่อเพื่อป้องกันการแตกร้าวหรือเสื่อมสภาพในภายหลังด้วยคิ้ว บัว โลหะ หรือ PVC ที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ทั้งภายในและภายนอก หากต้องทำการซ่อมแซมรอยต่อ ก็สามารถทำได้โดยการลอกวัสดุที่ใช้ยาแนวเดิมออก แล้วทำการยาแนวใหม่